เป็นบทสวดที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงพระนิพนธ์ขึ้น เพื่อใช้เป็นบทสวดแสดงความนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือมีทั้งหมด ๘ บรรทัด
อังคุลิมาลปริตร (ตำนานที่ 9)
ใจความสำคัญ : มีคำแปลว่า “ดูก่อนน้องหญิง ตั้งแต่อาตมาถือกำเนิดโดยชาติอริยะแล้ว (บวชในพุทธศาสนาของพระอริยเจ้า) ไม่เคยจงใจฆ่าสัตว์ตัดชีวิตใดๆ เลย ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่เธอ
บทสวด 7 ตำนาน 12 ตำนาน และความเป็นมา
บทสวดมนต์ 7 ตำนาน 12 ตำนาน มีที่มาอย่างไร มีบทใดบ้าง แต่ละบทมีประวัติย่อ และใจความสำคัญของบทสวด พร้อมอานุภาพป้องกันอะไรบ้าง ?
บทชยปริตร (ตำนานที่ 12)
ใจความสำคัญ : บทสวดอวยชัยให้มีชัยชนะและประสบผลสำเร็จในการทำกิจมงคลทุกอย่าง
ดุจพระพุทธเจ้าบรรลุผลสำเร็จจากการตรัสรู้ มีชัยเหนือกิเลสมาร ยังความปลื้มปีติให้บังเกิดมีแก่เหล่าเทวดา มนุษย์ และพระประยูรญาติ ฉะนั้น
ธชัคคสูตร (ย่อ) (ตำนานที่ 7)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ.
บทสัมพุทเธ
ใจความสำคัญ : เป็นบทนมัสการพระพุทธเจ้าจำนวน ๓,๕๘๔,๑๙๒ พระองค์ ที่ทรงอุบัติขึ้นแล้วในโลก และขออานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหมดนั้น รวมถึงอานุภาพแห่งพระธรรม และพระสงฆ์ ช่วยขจัดอุปสรรค และอันตรายที่จะพึงมีให้พินาศไป
บทนมการสิทธิคาถา
ใจความสำคัญ : เป็นบทกล่าวนอบน้อมในคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ขอเดชานุภาพแห่งพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ช่วยขจัดภัยอันตรายและประทานความสำเร็จในกิจทุกประการ
บทไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.
บทนอบน้อมพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
บทสวดวัฏฏกปริตร (ตำนานที่ 6)
เป็นบทสวดว่าด้วยคำสัตยาธิษฐานของลูกนกคุ่มโพธิสัตว์ เพื่อคุ้มครองตนให้พ้นอันตรายจากไฟป่าที่กำลังลุกลามมาถึงตัว ด้วยการอ้างถึงความจริง ๔ อย่างคือ ๑) คุณแห่งศีล